กลุ่มการใช้งานบนเว็บและการติดต่อสื่อสาร
เมื่อเกิดกราเติบโตของเครือข่ายอินเทอร์เน็ตซอฟต์แวร์กลุ่มนี้ได้ถูกพัฒนาขึ้นเพื่อใช้งานเฉพาะงานเพิ่มมากขึ้น เช่น โปรแกรมการตรวจสอบเช็คอีเมล การท่อเว็บไซต์ การจัดการดูแลเว็บ และการส่งข้อความสื่ิสาร การประชุมทางไกลผ่านเครือข่าย ตัวอย่างในกลุ่มนี้ได้แก่
โปรแกรมจัดการอีเมล อาทิ Microsoft outllook ,Mozzila Thunderbied
โปรแกรมท่องเว็บ อาทิ Microsoft Internet Explorr, Mozzila Firefox
โปรแกรมประชุมทางไกล (Video Conference) อาทิ Microsoft Netmeeting
โปรแกรมส่งข้อความด่วน(Instant Messaging)อาทิ MSN Messenger/Windows Meesaging,ICQ
โปรแกรมสนทนาบนอินเทอร์เน็ต อาทิ PURCH ,MIRCH
ความจำเป็นของการใช้ซอฟต์แวร์
การใช้ภาษาเครื่องนี้ถึงแม้ว่าคอมพิวเตอร์จะเข้าใจได้ทันที แต่มนุษย์ผู้ใช้จจะมีข้อยุ่งยากมากเพราะมักเข้าใจและจดจำได้ยาก จึงมีผู้สร้างภาษาคอมพิวเตอร์ในรูปแบบที่เป็นตัวอักษร เป้นประโยคข้อความ ภาษาในลักษณะดังกล่าวนี้ เรียกว่า ภาษาคอมพิวเตอร์ระดับสูง ภาษาระดับสูงมีอยู่มากมายบางภาษามีความหมายเหมาะสมกับการใช้สั่งงาน การคำนวณทงคณิตศาสตร์ และวิทยาศาสตร์บางภาษามีความเหมาะสมไว้ใช้สั่งงานทางด้านการจัดการรข้อมูล
ซอฟต์แวร์และภาษาคอทมพิวเตอร์
เมื่อมนุษย์ต้องการใช้คอมพิวเตอร์ช่วยในการทำงานมนุษย์จะต้องบอกขั้นตอนวิธีการใช้คอมพิวเตอร์ทราบการทีบอกสิ่งที่มนุษย์เข้าใจให้คอมพิวเตอร์รับรู้ และทำงานได้อย่างถูกต้อง จำเป็นต้องมีสื่อกลาง ถ้าเปรียบเทียบกับชีวิตประจำวันแล้วเรามีภาษาที่ใช้ในการติดต่อสื่อสารซึ่งกันและกัน เช่นเดียวกันถ้ามนุษย์จะถ่ายทอดความต้องการให้คอมพิวเตอร์รับรู้และปฏิบัติตาม จะต้องมีสื่อกลางสำหรับการติดต่อเพื่อให้คอมพิวเตอร์รับรู้ เราเรียกสื่อกลางนี้ว่า ภาษาคอมพิวเตอร์
ภาษาคอมพิวเตอร์ในแต่ล่ะยุกตืประกอบด้วย
ภาษาเครื่อง (Machine Languages)เนื่องจากคอมพิวเตอร์ทำงานด้วยสัญญาณไฟฟ้าใช้แทนด้วนตัวเลข0และ1ได้ออกแบบคอมพิวเตอร์ใช้ตัวเลข0และ1นี่เป็นรหัสแทนคำสั่งในการสั่งงานคอมพิวเตอร์รหัสแทนข้อมูลและคำสั่งโดนใช้ระบบเลขฐานสองนี้ คอมพิววเตอร์สามารถเข้าใจได้เรเรียกเลขฐานสองที่ประกอบกันเป็นชุดคำสั่งและใช้สั่งงาน คอมพิวเตอร์ว่าภาษาเครื่อง
การใช้ภาษาเครื่องถึงแม้ตคอมพิวเตอร์จะเข้าใจได้ทันทีแต่มนุษย์ผู้ใช้จะมีข้อยุ่งยากมากและเข้าใจและจดจำได้ยาก จึงมีผู้สร้างภาษาคอมพิวเตอร์ในรูปแบบอื่นที่เป็นตัวอักษร
ภาษาแอสเซมบลี(Assembly Languages)
ภาษาคอมพิวเตอร์ในยุกต์ที 2 ดัดจากภาษาเครื่อง ภาษาแอสเซมบลีช่วยลดความยุ่งยากในการเขียนโปรแกรมเพื่อติดต่อกับคอมพิวเตอร์
แต่อย่างไรก็ตามภาษาแอยเซมบลีมีความใกล้เคียงกับภาษาเครื่องอยู่่มาก และจำเป็นต้องใช้ตัวแปลภาษาที่เรียกว่าแอสเซมเบลอร์(Assembler)เพื่อแปลชุดภาษาแอสเซมมบลีให้เป็นภาษาเครื่่อง
ภาษาระดับสูง(High-Level Languages)
เป็นภาษาคอมพิวเตอร์ในยุกต์ที่ 3เริ่มมีการใช้ชุดคำสั่งที่เรียกว่า (Statements)ที่มีลักษณะเป็นประโยคภาษาอังกฤษทำให้ผู้เขียนโปรแกรมสามารถเข้าใจชุดคำสั่งเพือสั่งให้เครื่องคอมพิวเตอร์ทำงานได้ง่ายขึ้น เนื่องจากภาษาระดับสูงใกล้เคียงกับภาษามนุษย์ ตัวแปลภาษาระดับสูงเพื่อให้เป็นภาษาเครื่องนั้นมีอยู่ 2ชนิดคือ คอทไพเลอร์ (Compkler) และอินเทอร์พรีเตอร์( Interperter)
คอมไพเลอร์ จะทำการแปลโปรแกรมที่เขียนเป็นภาษาระดับสูงทั้งโปรแกรม ให้เป็นภาษาเครื่องก่อน แล้วจึงนำให้คอมพิวเตอร์ทำงานตามภาษาเครื่องนั้น
อินเทอร์พรีเตอร์ จะทำการแปลทีละคำสั่ง แล้วให้คอมพิวเตอร์ทำตามคำสั่งนั้นเมื่อทำเสร็จแล้ว จึงมาทำการแปลคำสั่งลำดับต่อไป ข้อแตกต่างระหว่างคอมไพเลอร์กับอินเทอร์เน็ตจึงอยู่ที่การแปลทำโปรแกรมหรรือแปลทีละคำสั่ง