วันจันทร์ที่ 10 กันยายน พ.ศ. 2555

ประเภทของซอฟต์แวร์ระบบ
ซอฟต์แวร์ระบบ แบ่งเป็น 2  ประเภทคือ
1.ระบบปฏิบัติการ (Operating System:OS)
2.ตัวแปรภาษา
    1.ระบบปฏิบัติการ หรือเรียกย่อๆว่า โอเอส( Operating System) เป็นซอฟต์แวร์ใช้ในการดูแลระบบคอมพิวเตอร์ เครื่องคอมพิวเตอร์ทุกเครื่องจะต้องมีวอฟต์แวร์ปฏิบัติการนี้ ระบบปฏิบัติการี่นิยมใช้กันมากและเป็นที่รู้จักกันดี เช่นดอส วินโดวส์ ยูนิกส์ ลี นุกซ์ และแมคอินทอช เป็นต้น
   1.ระบบปฏิบัติการ(Operating System:OS)
   1.ดอส (Disk Operating System :OS)เป็นซอฟต์แวร์จัดระบบงานที่พัฒนานานแล้ว การใช้งานจึงใช้คำสั่งเป็นตัวอักษร ดอสเป็นซอฟต์แวร์ที่รู้จักกันดีในหมู่ผู้ใช้ไทโครคอมพิวเตอร์ ในอดึตปัจจุบันระบบปฏิบัติการนั้นมีการใช้งานน้อยมาก
   2.วินโดวส์(Windows)เป็นระบบปฏิบัติการที่พัฒนาต่อจากดอสโดยให้ผู้ใช้สามารถสั่งงานได้จากเมาส์มากขึ้นแทนการใช้แผงแป้นอักขระเพียงอย่างเดียวนอกจากแบบนี้ระบบปฏิบัติการวินโดวส์ยังสามารถทำงานได้หลายงานพร้อมกันได้ โดยงานแต่ละงานจะอยู่ในกรอบช่องหน้าต่างบนจอภาพ การใช้งานแน้นรูปแบบกราฟิก ผู้ใช้งานสามารถใช้เมาส์เลื่อนตัวชี้เพื่อเลือกตำเหน่งที่ปรากฎบนจอภาพ ทำให้ใช้งานคอมพิวเตอร์ได้ง่ายระบบปฏิบัติการวินโดวส์จึงได้รับความนิยมมากในปัจจุบัน
   3.ยูนิกส์(Unix) เป็นระบบปฏิบัติการพัฒนาตั้งแต่ครั้งใช้กับเครื่องมินิคอมพิวเตอร์ ระบบปฏิบัติการยูนิกส์ที่เป็นเทคโนโลยีแบบใด(Open System)ซึ่งเป็นแนวคิดที่ผู้ใช้ไม่ต้องผูกติดกับระบบใดระบบหนึ่งหรือใช้อุปกรณ์ท่มียี่ห้อเดียวกัน ยูนิกส์ยังถูกออกแบบมาเพือตอบสนองการใช้งานในลักษณะที่มีผู้ใช้หลายคนในเวลาเดียวกันที่เรียกว่า ระบบหลายผู้ใช้ (multiusers)และสามารถทำงานได้หลายๆงานในเวลาเดียวกันในลักษณะที่เรียกว่า ระบบหลายภาระกิจ(multitasking)ระบบปฏิบัติการยูนิกส์จึงนิยมใช้กับเครื่องที่เชื่อมโยงเป็นเครือข่ายเพื่อใช้งานร่วมกันหลายๆเครื่องร่วมกัน
  4.ลีนุกส์(linux)เป็นระบบปฏิบัติการที่พัฒนาจากระบบยูนิกส์ เป็นระบบซึ่งมีการแจกจ่าย
        โปรแกรมต้นฉบับให้นักพัฒนาช่วยกันพัฒนาคุณสมบัติของระบบปฏิบัติการ ระบบปฏิบัติการลีนุกส์ซึ่งเป็นที่นิยมกันมากขึนในปัจจุบัน เนื่องจากมีโปรแกรมประยุกต์ต่างๆที่ทำงานระบบลีนุกส์จำนวนมาก โดยเฉพาะอย่างยิ่งโปรแกรมในกลุ่มของกูนิวส์(GNU)และสิ่งที่สำคัญที่สุดก็คือระบบลีนุกส์เป็นระบบปฏิบัติการประเภทแจกฟรี(Free Ware)ผู้ใช้สามารถใช้งานได้โดยไม่ต้องเสียค่าใช้จ่าย
         ระบบลีนุกส์สามารถทำงานได้บนซีพียูหลายตระกูลเช่น อินเทล (PC Intel)ดิจิตอล(Digital  Alpha Computer) และซันสปาร์ค(Sun Sparc)ถึงผู้ในขณะนี้ลีนุกส์ยังไม่สามารถแทนที่ระบบปฏิบัติการวินโดวส์บนพีซีได้ทั้งหมดก็ตาม แต่ผู้ใช้จำนวนมากได้หันมาใช้และช่วยพัฒนาโปรแกรมประยุกต์บนลีนุกซ์กันมากมายขึ้น
 5.แมคอินทอช (macintosh)เป็นระบบปฏิบัติการสำหรับเครื่องไมโครคอมพิวเตอร์ แมคอินทอชส่วนมากนำไปใช้งานกราฟิก ออกแบบแลัะจัดตกแต่งเอกสาร นิยมใช้ในสำนักพิมพ์ต่างๆ
          นอกจากระบบปฏิบัติการที่กล่าวมาแล้วยังมีระบบปฏิบัติการอีกมาก เช่นระบบปฏิบัติการที่ใช้ในเครือข่ายคอมพิวเตอร์ เพื่อให้คอมพิวเตอร์ทำงานเป็นระบบ เช่น ระบบปฏิบัติการเน็ดแวร์ นอกจากนี้ยังมีระบบปฏิบัติการที่ใช้งานเฉพาะกับเครื่องคอมพิวเตอร์ทั้งสร้างขึ้นมาเพื่องานใดงานหนึ่งโดยเฉพาะซึ่งส่วนใหญ่จะใช้ในห้องปฏิบัติงานคอมพิวเตอร์ในสถาบันการศึกษา
        ชนิดของระบบปฏิบัติการ จำแนกตามการใช้งาน สามารถจำแนกออกได้ 3ชนิด คือ
1.ประเภทใช้งานเดียว(Single -tasking)ระบบปฏิบัติการประเภทนี้จะกำหนดคอมพิวเตอร์ใช้งานได้ครั้งละหนึ่งงานเท่านั้น ในเครื่องขนาดเล็กอย่างไมโครคอมพิวเตอร์เช่น ระบบปฏิบัติการดอส เป็นต้น
2.ปนะเภทใช้หลายงาน(Multi-tasking)ระบบปฏิัติการประเภทนี้สามารถควบคุมการทำงานพร้อมกันหลายงานในขณะเดียวกันผู้ใช้สามารถทำงานกับซอฟต์แวร์ประยุกต์ได้หลายชนิดในเวลาเดียวกัน เช่น ระบบปฏิบัติการWindows 98ขึ้นไปและUnixเป็นต้น
3.ประเภทใช้งานหลายคน(Multi-user)ในหน่วยงานบางแห่งอาจใช้คอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่ทำหน้าที่ประมวลผลทำให้ในขณะใดขณะหนึ่งมีผู้ใช้คอมพิวเตอร์พร้อมกันหลายคน แต่ละคนจะมีสถานีงานของตนเองเชื่อมต่อกับคอมพิวเตอร์ จึงต้องใช้ระบบปฏิบัติการที่มีความสามารถสูงเพื่อให้ผู้ใช้ทุกคนสามารถทำงานสำเร็จในเวลา เช่นระบบปฏิบัติการ WindowsNTและUnixเป็นต้น
      2.ตัวแปลภาษา
        การพัฒนาซอฟต์แวร์ต้องอาศัยซอฟต์แวร์ที่ใช้ในการแปลภาษาระดับสูงเพื่อแปลภาษาระดับสูงให้เป็นภาษาเครื่อง
        ภาษาระดับสูงมีหลายภาษาซึ่งสร้างขึ้นเพื่อให้ผู้เขียนโปรแกรมเขียนชุดคำสั่งได้ง่าย เข้าใจได้และเพื่อให้สามารถปรับปรุงแก้ไขซอฟต์แวร์ในภายหลังได้
       ภาษาระดับสูงที่พัฒนาขึ้นทุกภาษาต้องมีตัวแปลภาษาซึ่งภาษาระดับสูงได้แก่ภาษา Basic ,Pascal,Cและภาษาโลโกเป็นต้น นอกจากนี้ยังมีภาาาคอมพิวเตอร์ที่ใช้กันอยู่ในปัจจุบันอีกมากได้แก่ Fortran ,Cobol และภาษาอาร์ดีจี
        ซอฟต์แวร์ประยุกต์(Application Softwara)ซอฟต์แวร์ใช้ทำงานร่วมกับคอมพิวเตอร์เพื่อใช้ทำงานเฉพาะด้าน เช่นการจัดพิมพ์รายงาน การจัดทำบัญชี การตกแต่งภาพหรือการออกแบบเป็นต้น
          ประเภทของซอฟต์แวร์ประยุกต์
      แบ่งตามลักษณะการผลิต จำแนกได้เป็นสองประเภทคือ
1.ซอฟต์แวร์ที่พัฒนาขึ้นใช้เองโดยเฉพาะ(Proprietary Software)
2.ซอฟต์แวร์ที่หาซื้อได้ทั่ไป(Packged Software)Software)มีทั้งโปรแกรมเฉพาะ(Customized Packaged)และโปรแกรมมาตรฐาน(Standard Packaged)
     แบ่งตามกลุ่มการใช้งาน จำแนกได้เป็น3กลุ่มใหญ่ๆดังนี้
1.กลุ่มการใช้งานทางด้านธุรกิจ(Businesse)
2.กลุ่มการใช้งานด้านกราฟิกและมัลติมีเดีย(Graphic and Maltiwedia)
3.กลุ่มการใช้งานบนเว็บ(Wed and Communications)
    กลุ่มการใช้งานทางด้านธุรกิจ(Businesse)ซอฟต์แวร์กลุ่มนี้ถกนำมาใช้โดยมุ่งหวังใ้การทำงานมีประสิทธิภาพมากขึ้นเช่น การจัดพิมพ์ รายงานเอกสาร นำเสนองาน และบันทึกนัดหมายต่างๆตัวอย่างเช่น
โปรแกรมประมวลคำ อาทิ Microsoft Word,Sun Straoffice Writer
โปรแกรมตารางคำนวณ อาทิ Microsfot Excel,Sun Straoffice Cals
โปรแกรมนำเสนองาน อาทิ Microsfot Powerponit,Sun Staroffice Impress
   กลุ่มการใช้งานด้านกราฟิกและมัลติมีเดีย
ซอฟต์แวร์กลุ่มนี่ถูกพัฒนาขึ้นเพื่อช่วยการจัดงานด้านกราฟิกและมัลติมีเดียเพื่อให้งานง่ายขึ้น เช่น ใช้ตกแต่ง วาดรูป ปรับเสียง ติดต่อภาพเคลือนไหวและการสร้า
งและออกแบบเว็บไซต์ ตัวอย่างเช่น
    โปรแกรมงานออกแบบ อาทิ Microsoft Visio Professional
     โปรแกรมตกแต่งภาพ อาทิ Coreidraw addobe Photoshop
     โปรแกรม ตัดต่อวีดีโอและเสียง อาทิ Adobe Premive,Pinnacle Studio DV
     โปรแกรมสร้างสื่อมัลติมีเดีย อาทิ Adobe Authorware,Tooibook Instructor,Adobe Dreamweaver

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น